MY PA - MY MAI
วันอังคารที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
วันจันทร์ที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
เพลง เป็ดน้อย 5 ตัว
เป็ดน้อย5ตัวเต๊าะแต๊ะตามกัน เดินเพลิดเพลินไปในไพวัลย์
ก๊าบ ๆ ๆ แม่เรียกเสียงดัง (ซ้ำ) เป็ดน้อย 4 ตัวกลับมาน่าชัง.
เป็ดน้อย 4 ตัวเต๊าะแต๊ะตามกัน เดินเพลิดเพลินไปในไพวัลย์
ก๊าบ ๆ ๆ แม่เรียกเสียงดัง (ซ้ำ) เป็ดน้อย 3 ตัวกลับมาน่าชัง
เป็ดน้อย 3 ตัวเต๊าะแต๊ะตามกัน เดินเพลิดเพลินไปในไพวัลย์
ก๊าบ ๆ ๆ แม่เรียกเสียงดัง (ซ้ำ) เป็ดน้อย 2 ตัวกลับมาน่าชัง
เป็ดน้อย 2 ตัวเต๊าะแต๊ะตามกัน เดินเพลิดเพลินไปในไพวัลย์
ก๊าบ ๆ ๆ แม่เรียกเสียงดัง (ซ้ำ) เป็ดน้อย 1 ตัวกลับมาน่าชัง
เป็ดน้อย 1 ตัวเต๊าะแต๊ะตามกัน เดินเพลิดเพลินไปในใพวัลย์
ไม่มีเป็ดน้อยกลับมาเลยน่าชัง แม่เป็ดคนงามเดินตามลูกไป
ก๊าบ ๆ ๆ กึกก้องในไพร เป็ดน้อย 5 ตัวกลับมาดีจัง
ที่มา พรทิพย์ ชังธาดา
บทความทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย เรื่องมาเสริมกิจกรรมทางคณิตศาสตร์
การสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กที่ผ่านมา ท่านเป็นครูผู้สอนเคยมีคำถามกับตัวเองทำนองนี้บ้างหรือไม่
"เราจะจัดกิจกรรมทางคณิตศาสตร์อย่างไรเพื่อจะช่วยเปลี่ยนบรรยากาศในห้องเรียนได้บ้าง"
"เราจะให้นักเรียนคิดปัญหาคณิตศาสตร์อะไรที่เป็นเรื่องทั่วๆไป ซึ่งไม่ต้องเกี่ยวกับเนื้อหาที่กำลังสอนตอนนี้ก็ได้"
"เราจะให้ปัญหาอะไร นักเรียนจะได้มีกิจกรรมทางคณิตศาสตร์ที่จะได้ร่วมกันทำงาน"
"เราจะให้ปัญหาอะไรแก่เด็กนักเรียนไปฝึกคึดเล่นๆเป็นการบ้าน"
โดยทั่วๆไปแล้วมีปัญหาทางคณิตศาสตร์หรือวิธีการทางคณิตศาสตร์ที่น่าสนใจหลายเรื่อง ซึ่งดูแล้วเป็นเรื่องธรรมดาๆแต่น่าคิดและท้าทายความสามารถ ซึ่งครูผู้สอนสามารถนำมาใช้เป็นกิจกรรมระหว่างการเรียนการสอนได้อย่างน่าสนใจ เช่น
ให้นักเรียนคนหนึ่งออกมาเขียนจำนวนนับ ซึ่งเป็นเลขหลายหลักหนึ่งจำนวน แล้วให้นักเรียนในห้องช่วยกันตอบว่าจำนวนที่เขียนบนกระดานนั้นเป็นเลขคู่หรือเลขคี่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 0
ลองถามดูว่าใครบ้างที่ตอบคำถามได้ถูกต้องโดยไม่ต้องคิดด้วยวิธีการนับนิ้วหรือทดสอบคิดในกระดาษและไม่ได้เดาคำตอบ พยายามให้นักเรียน
อธิบายวิธีการหรือหลักการคิดของนักเรียน ที่มา:ดนัย ยังคง,วารสาร สสวท.ปีที่ 16 ฉ. 4 ตค.-ธค. 2531
"เราจะจัดกิจกรรมทางคณิตศาสตร์อย่างไรเพื่อจะช่วยเปลี่ยนบรรยากาศในห้องเรียนได้บ้าง"
"เราจะให้นักเรียนคิดปัญหาคณิตศาสตร์อะไรที่เป็นเรื่องทั่วๆไป ซึ่งไม่ต้องเกี่ยวกับเนื้อหาที่กำลังสอนตอนนี้ก็ได้"
"เราจะให้ปัญหาอะไร นักเรียนจะได้มีกิจกรรมทางคณิตศาสตร์ที่จะได้ร่วมกันทำงาน"
"เราจะให้ปัญหาอะไรแก่เด็กนักเรียนไปฝึกคึดเล่นๆเป็นการบ้าน"
โดยทั่วๆไปแล้วมีปัญหาทางคณิตศาสตร์หรือวิธีการทางคณิตศาสตร์ที่น่าสนใจหลายเรื่อง ซึ่งดูแล้วเป็นเรื่องธรรมดาๆแต่น่าคิดและท้าทายความสามารถ ซึ่งครูผู้สอนสามารถนำมาใช้เป็นกิจกรรมระหว่างการเรียนการสอนได้อย่างน่าสนใจ เช่น
ให้นักเรียนคนหนึ่งออกมาเขียนจำนวนนับ ซึ่งเป็นเลขหลายหลักหนึ่งจำนวน แล้วให้นักเรียนในห้องช่วยกันตอบว่าจำนวนที่เขียนบนกระดานนั้นเป็นเลขคู่หรือเลขคี่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 0
ลองถามดูว่าใครบ้างที่ตอบคำถามได้ถูกต้องโดยไม่ต้องคิดด้วยวิธีการนับนิ้วหรือทดสอบคิดในกระดาษและไม่ได้เดาคำตอบ พยายามให้นักเรียน
อธิบายวิธีการหรือหลักการคิดของนักเรียน ที่มา:ดนัย ยังคง,วารสาร สสวท.ปีที่ 16 ฉ. 4 ตค.-ธค. 2531
วันอาทิตย์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
นกโง่
วันจันทร์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
สรุปงานวิจัย
วันจันทร์ที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
ฟ้าแจ่มใสหัวใจสีชมพู
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)